ปรากฏการณ์พระอาทิตย์หลายดวง “ซันด็อก”
+2
~Badzieez_Tears~
kood_teek
6 posters
หน้า 1 จาก 1
kood_teek- มือใหม่ Vongola
- โพสต์แล้ว : 147
Points : 207
เปลวเพลิง : 13
วันเกิด : 03/10/1994
เข้าร่วม : 29/06/2010
Age : 30
ที่อยู่ : เมืองไทย
อาชีพ : ผู้รอคอยจากดวงดาว
ชื่อเล่น : ติ๊ก +'_'+ ! Tik !
Re: ปรากฏการณ์พระอาทิตย์หลายดวง “ซันด็อก”
มันเคยเกิดขึ้นกับจังหวัดของเราอะ
kood_teek- มือใหม่ Vongola
- โพสต์แล้ว : 147
Points : 207
เปลวเพลิง : 13
วันเกิด : 03/10/1994
เข้าร่วม : 29/06/2010
Age : 30
ที่อยู่ : เมืองไทย
อาชีพ : ผู้รอคอยจากดวงดาว
ชื่อเล่น : ติ๊ก +'_'+ ! Tik !
Re: ปรากฏการณ์พระอาทิตย์หลายดวง “ซันด็อก”
ปรากฏการณ์ซันด็อก
ซันด๊อก เป็นปรากฏการณ์ทางแสงอย่างหนึ่ง มักเกิดเป็นคู่ อยู่ด้านซ้าย-ขวา ในแนวระนาบเดียวกับดวงอาทิตย์ ขนานกับพื้นดิน ซันด๊อกอาจปรากฏเป็นจุดสว่างบนฮาโล หรืออาจมีรูปร่างคล้ายกับดาวหางก็ได้ ซันด๊อกอาจมีสีรุ้งได้ โดยที่สีแดงจะอยู่ใกล้กับดวงอาทิตย์ และสีฟ้าขาวปรากฏในส่วนหาง
ซันด๊อก เกิดจาการหักเห และการสะท้อนของแสงอาทิตย์ กับผลึกน้ำแข็งแท่ง 6 เหลี่ยมภายในเมฆเซอรัส (cirrus) หรือ เซอโรสตราตัส (cirrostratus) เมฆน้ำแข็งอื่นๆ เช่น ice fog และ diamond dust ก็สามารถทำให้เกิดซันด๊อกได้เช่นกัน
ซันด๊อกมักเกิดเมื่อดวงอาทิตย์อยู่ใกล้กับขอบฟ้า คือหลังพระอาทิตย์ขึ้น หรือ ก่อนพระอาทิตย์ตก หรือในช่วงเดือนในฤดูหนาวในเขต mid-latitudes โดยจะอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นมุม 22 องศา และจะปรากฏบนวงของฮาโลถ้าเกิดปรากฏการณ์ฮาโล เมื่อดวงอาทิตย์อยู่ในมุมที่สูงขึ้น ซันด๊อกจะเคลื่อนตัวออกห่างจากดวงอาทิตย์ แต่จะยังรักษาตำแหน่งอยู่ในแนวระนาบเดียวกับดวงอาทิตย์ เมื่อดวงอาทิตย์อยู่เกิน 45 องศา เหนือขอบฟ้า ซันด๊อกจะจางลง และอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์มากกว่า 22 องศา
ซันด๊อกจะหายไป เมื่อดวงอาทิตย์อยู่สูงกว่าขอบฟ้าเกิน 61 องศา
ซันด๊อกมักเกิดร่วมกับฮาโล ฮาโลจะเกิดในกรณีที่ผลึกน้ำแข็งมีการเรียงตัวในลักษณะผสม ส่วนซันด๊อกจะเกิดในกรณีที่ผลึกน้ำแข็งมีการเรียงตัวในแนวระนาบ (เราจะเห็นเฉพาะซันด๊อกเท่านั้น ถ้ามีแต่ผลึกน้ำแข็งในแนวระนาบ)
Parhelion เป็นชื่อทางวิทยาศาสตร์ของ Sun Dog ซึ่งแปลว่า "ข้างดวงอาทิตย์"
ปรากฏการณ์นี้ หากเกิดกับดวงจันทร์ จะเรียกว่า "มูนด๊อก" (Moon Dog) และมีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Paraselene หรือ Paraselenae (พหูพจน์ของ paraselene) มูนด๊อกจะหาดูได้ยากกว่า และจะเกิดได้เมื่อดวงจันทร์มีความสว่างมากเท่านั้น ซันด๊อกจะพบได้ง่ายในเขตหนาว เช่น ทวีปแอนตาร์คติค และ ทวีปอาร์คติค แต่ก็เกิดได้ในเขตร้อนเช่นกัน แม้แต่ในประเทศไทย
ขอบคุณข้อมูลข่าวจาก [You must be registered and logged in to see this link.]
และ [You must be registered and logged in to see this link.]
ซันด๊อก เป็นปรากฏการณ์ทางแสงอย่างหนึ่ง มักเกิดเป็นคู่ อยู่ด้านซ้าย-ขวา ในแนวระนาบเดียวกับดวงอาทิตย์ ขนานกับพื้นดิน ซันด๊อกอาจปรากฏเป็นจุดสว่างบนฮาโล หรืออาจมีรูปร่างคล้ายกับดาวหางก็ได้ ซันด๊อกอาจมีสีรุ้งได้ โดยที่สีแดงจะอยู่ใกล้กับดวงอาทิตย์ และสีฟ้าขาวปรากฏในส่วนหาง
ซันด๊อก เกิดจาการหักเห และการสะท้อนของแสงอาทิตย์ กับผลึกน้ำแข็งแท่ง 6 เหลี่ยมภายในเมฆเซอรัส (cirrus) หรือ เซอโรสตราตัส (cirrostratus) เมฆน้ำแข็งอื่นๆ เช่น ice fog และ diamond dust ก็สามารถทำให้เกิดซันด๊อกได้เช่นกัน
ซันด๊อกมักเกิดเมื่อดวงอาทิตย์อยู่ใกล้กับขอบฟ้า คือหลังพระอาทิตย์ขึ้น หรือ ก่อนพระอาทิตย์ตก หรือในช่วงเดือนในฤดูหนาวในเขต mid-latitudes โดยจะอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์เป็นมุม 22 องศา และจะปรากฏบนวงของฮาโลถ้าเกิดปรากฏการณ์ฮาโล เมื่อดวงอาทิตย์อยู่ในมุมที่สูงขึ้น ซันด๊อกจะเคลื่อนตัวออกห่างจากดวงอาทิตย์ แต่จะยังรักษาตำแหน่งอยู่ในแนวระนาบเดียวกับดวงอาทิตย์ เมื่อดวงอาทิตย์อยู่เกิน 45 องศา เหนือขอบฟ้า ซันด๊อกจะจางลง และอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์มากกว่า 22 องศา
ซันด๊อกจะหายไป เมื่อดวงอาทิตย์อยู่สูงกว่าขอบฟ้าเกิน 61 องศา
ซันด๊อกมักเกิดร่วมกับฮาโล ฮาโลจะเกิดในกรณีที่ผลึกน้ำแข็งมีการเรียงตัวในลักษณะผสม ส่วนซันด๊อกจะเกิดในกรณีที่ผลึกน้ำแข็งมีการเรียงตัวในแนวระนาบ (เราจะเห็นเฉพาะซันด๊อกเท่านั้น ถ้ามีแต่ผลึกน้ำแข็งในแนวระนาบ)
Parhelion เป็นชื่อทางวิทยาศาสตร์ของ Sun Dog ซึ่งแปลว่า "ข้างดวงอาทิตย์"
ปรากฏการณ์นี้ หากเกิดกับดวงจันทร์ จะเรียกว่า "มูนด๊อก" (Moon Dog) และมีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Paraselene หรือ Paraselenae (พหูพจน์ของ paraselene) มูนด๊อกจะหาดูได้ยากกว่า และจะเกิดได้เมื่อดวงจันทร์มีความสว่างมากเท่านั้น ซันด๊อกจะพบได้ง่ายในเขตหนาว เช่น ทวีปแอนตาร์คติค และ ทวีปอาร์คติค แต่ก็เกิดได้ในเขตร้อนเช่นกัน แม้แต่ในประเทศไทย
ขอบคุณข้อมูลข่าวจาก [You must be registered and logged in to see this link.]
และ [You must be registered and logged in to see this link.]
belze- มาเฟียฝึกหัด
- โพสต์แล้ว : 32
Points : 34
เปลวเพลิง : 0
วันเกิด : 19/01/1990
เข้าร่วม : 02/07/2010
Age : 34
ที่อยู่ : เป็นความลับนะ
อาชีพ : นักศึกษา
ชื่อเล่น : Blue-berry
Re: ปรากฏการณ์พระอาทิตย์หลายดวง “ซันด็อก”
ทำไมมันมีหลายดวงหว่า
osonteenzao- อัลโกบาเลโน่
- โพสต์แล้ว : 117
Points : 174
เปลวเพลิง : 26
วันเกิด : 08/11/1994
เข้าร่วม : 27/06/2010
Age : 30
ที่อยู่ : หน้าคอม
อาชีพ : ยาม
ชื่อเล่น : เบียร์คุยำ
Re: ปรากฏการณ์พระอาทิตย์หลายดวง “ซันด็อก”
นึกว่าซอนต๊อก 555+
_YURI_- อัลโกบาเลโน่
- โพสต์แล้ว : 168
Points : 224
เปลวเพลิง : 16
วันเกิด : 02/03/1996
เข้าร่วม : 04/07/2010
Age : 28
ที่อยู่ : 183 ม.12 ต.เจดีย์หัก อ.เมือง จ.ราชบุรี 70000 บอกหมดค่ะ -..-
อาชีพ : ทำขนม
ชื่อเล่น : Cartoon & yuri
Re: ปรากฏการณ์พระอาทิตย์หลายดวง “ซันด็อก”
แค่ภาพลองตาของมุคุโร่ละมั้ง 555+
ถ้ามีหลายดวงจริง โลกเราอุณหภูมิคงสูงขึ้นหลายเท่า - -
ถ้ามีหลายดวงจริง โลกเราอุณหภูมิคงสูงขึ้นหลายเท่า - -
elike2010- จบการศึกษามาเฟีย
- โพสต์แล้ว : 706
Points : 710
เปลวเพลิง : 4
วันเกิด : 13/10/1992
เข้าร่วม : 31/07/2010
Age : 32
ที่อยู่ : พเนจร
อาชีพ : นักฆ่าอันดับ 2
ชื่อเล่น : AnGle OF Death
หน้า 1 จาก 1
Permissions in this forum:
คุณไม่สามารถพิมพ์ตอบ